มักกะรีผล เป็นผลไม้ที่่เหมือนรูปคน

 svsvsv@thaimail.com    25 ม.ค. 2554

ดอกไม้พระราชทาน วัดหนองหว้า เพชรบุรี


ที่มา : Nongwanongkhanan


มักกะรีผล เป็นผลไม้ที่มีผลเป็นรูปคน สูงหกนิ้ว กว้าง สองนิ้วครึ่ง


มักกะรีผล เป็นผลไม้ที่มีผลเป็นรูปคน สูงหกนิ้ว กว้าง สองนิ้วครึ่ง


มักกะรีผล เป็นผลไม้ที่มีผลเป็นรูปคน สูงหกนิ้ว กว้าง สองนิ้วครึ่ง


มักกะรีผล เป็นผลไม้ที่มีผลเหมืนรูปคนชายและหญิง สูงหกนิ้ว กว้าง สองนิ้วครึ่ง


เหรียญหลังช้างเอราวัณ โภคทรัพย์ พระอาจารย์จิ สมจิตโต วัดหนองหว้า ต.หนองขนาน อ.เมือง จ.เพชรบุรี
บูชา ๕๐๐ บาท ติดต่อได้ที่ คุณ บุญลือ พูลนิล โทร. ๐๘๑๙๔๗๖๐๙๖ หรือที่วัดหนองหว้า





พระสมเด็จปรกโพธิ์ ชนะมาร ด้านหลังหนุมาน พระอาจารย์จิ สมจิตฺโต
ปลุกเสกเดี่ยวในอุโบสถ วัดหนองหว้า ต.หนองขนาน อ.เมือง จ.เพชรบุรี
ในวันมาฆบูชา วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔
มวลสารประกอบด้วย ผงว่าน ๑๐ ๘ ผงพระหลวงพ่อทวด
ผงสมเด็จภายในอุโบสถ วัดหนองหว้า ดินจากสถานที่ประสูติ
สวนลุมพินีวัน ประเทศเนปาล น้ำจากแม่น้ำคงคาประเทศอินเดีย
เส้นเกศาพระอาจารย์จิ สมจิตฺโต และนิล บูชา ๕๐๐ บาท
ติดต่อได้ที่คุณบุญลือ พูลนิล โทร. ๐๘๑๙๔๗๖๐๙๖ หรือที่วัดหนองหว้า



ที่ รล ๐๐๑๒.๑ / ๔๘๕๔ สำนักราชเลขาธิการ
พระบรมมหาราชวัง กทม.๑๐๒๐๐
๒๓ มีนาคม ๒๕๕๔
เรื่อง ทรงชื่นชม
นมัสการ พระปลัดสมจิต สมจิตฺโต
รองเจ้าอาวาสวัดหนองหว้า เลขานุการเจ้าคณะตำบลหาดเจ้าสำราญ จังหวัดเพชรบุรี
อ้างถึง ลิขิตลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๓
ตามที่ท่านได้มีลิขิตขอให้นำความกราบทูล พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ขอประทานถวาย เหรียญด้านหน้ารูป
เหมือนสมเด็จพระสังฆราช( แตงโม )ด้านหลังรูปเหมือนพระอาจารย์จิ วัดหนองหว้า
เนื้อนวโลหะ จำนวน ๑๐๐ เหรียญเหรียญด้านหน้ารูปเหมือนสมเด็จพระสังฆราช
( แตงโม ) ด้านหลังรูปแม่โพสพ เนื้อนวโลหะ จำนวน ๙๘ เหรียญ และเหรียญ
ด้านหน้ารูปเหมือนพระอาจารย์จิ วัดหนองหว้า กะไหล่เงิน จำนวน ๒ เหรียญ แด่
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
ความแจ้งอยู่แล้วนั้น

ได้นำเหรียญดังกล่าวถวายแล้ว ทรงชื่นชม

จันทนี ธนรักษ์
( คุณจันทนี ธนรักษ์ )
รองราชเลขาธิการ ปฏิบัติราชการแทน
ราชเลขาธิการ

กองงานในพระองค์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรราชาทินัดดามาตุ โทร./ โทรสาร ๐๒ ๒๒๐๗๔๙๑
เว็บไซต์ : www”ohmpps.go.th






หนังสือสมุดไทยดำ ( อักษรไทย – ขอม )
ภาษาไทย – บาลี เขียนลายเส้นรงค์ ( หรดาล ดินสอ )
สมุดไทยดำ สมุดที่ทำด้วยกระดาษข่อย ลักษณะเป็นแผ่นยาว สีดำ
รง ชื่อยางไม้ที่ได้จากไม้ต้น ๒ ชนิด ชนิดแรกมีสีเขียวอมเหลือง
เรียก รงกา ชนิดหลังมีสีเหลือง ใช้ทำยาหรือเขียนหนังสือ หรือ
ระบายสี ถ้าผสมด้วยทองคำเปลวเขียนตัวหนังสือเรียกว่า รงทอง
หรดาล แร่ชนิดหนึ่งประกอบด้วยสารหนูและกำมะถันมี ๒ ชนิด
คือ รากหรดาลแดง กับหรดาลกลีบทอง ซึ่งมีสีเหลืองเป็นมัน
ใช้เขียนรวดลายรดน้ำหรือสมุดดำ



ภาพเขียนพระสถูปพระปฐมเจดีย์องค์เดิมที่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้าง
ครอบไว้ แสดงถึงฐานพระสถูปและองค์ระฆัง ซึ่งเดิมเป็น
ศิลปะทวาราวดี แต่ถูกซ่อมอยู่เสมอจนรูปทรงผิดไป
ที่พระปฐมเจดีย์นี้ กล่าวว่ารัชกาลที่ ๔ รัชกาลที่ ๕
และรัชกาลที่ ๖ ทรงทอดพระเนตรเห็นปาฏิหาริย์
และทรงได้ยินเสียงดนตรีจากพระปฐมเจดีย์ด้วย



ผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พบในกรุปรางค์
ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา



ผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พบในกรุปรางค์
ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา



สถูป ๖ ชั้นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุซ้อนกัน
(เดิมมี ๗ ชั้น ชำรุดไป ๑ ชั้น) ทั้งหมดนี้ซ้อนอยู่
ในพระสถูปศิลา พบในกรุพระเจดีย์ใหญ่ด้านทิศ
ตะวันออกของพระเจดีย์สามองค์วัดพระศรีสรรเพชญ์



เครื่องพุทธบูชาที่พบรวมกันในกรุวัดพระศรีสรรเพชญ์


พระอาจารย์จิ และ คุณ ณัฐวุฒิ สกิจใจ ( ป๋อ ) น.ส. พรทิพย์ วงศ์กิจจานนท์ ( ปู )


ลักษณะพระสถูปแบบต่างๆ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ที่พบในกรุเจดีย์ต่างๆในภาคเหนือ โดยเฉพาะในเขต
อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่



ลักษณะพระสถูปแบบต่างๆ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ที่พบในกรุเจดีย์ต่างๆในภาคเหนือ โดยเฉพาะในเขต
อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่



เหรียญพระปฐมปาฏิหาริย์ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๒


เหรียญที่ระลึกสร้างขึ้นเป็นพุทธบูชาพระบรมธาตุดอยตุง พ.ศ.๒๕๑๖


ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง (หลักที่ ๑ )จัดแสดงอยู่ที่ห้องประวัติ
ศาสตร์ชาติไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร



ลายปูนปั้น เหนือซุ้มประตูกำแพงวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย



บุษบกมาลา ภายในพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพพระมหานคร



เหรียญที่ระลึกในการสมโภชพระเจดีย์ทองบวรนิเวศ
เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๘๐ สร้างขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุเสมอสมเด็จพระราชบิดา



จี้และกำไลทองคำที่พบจากใต้ทะเลบริเวณเกาะรางเกวียน จังหวัดชลบุรี


เครื่องทองซึ่งพบจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ ในพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา



โบราณวัตถุส่วนหนึ่งที่พบจากแหล่งโบราณคดี
บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี



สุริยจักร ธรรมจักร(หิน) สมัยทวารวดีพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม



เครื่องพุทธบูชา ทั้งบัลลังก์พร้อมเครื่องสูง และแจกกัน
ใส่ดอกไม้ทอง ดอกไม้เงิน ที่พบในกรุทางภาคเหนือ



พระปฐมเจดีย์จำลอง ซึ่งเป็นลักษณะของเจดีย์องค์เดิมที่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสร้างพระปฐมเจดีย์
องค์ปัจจุบันคลุมทับ เชื่อกันว่าเป็นร่องรอยของพระพุทธศาสนา
ที่มาถึงแห่งแรกครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชและประดิษฐาน
พระบรมสารีริกธาตุ



.


หนังใหญ่วัดพลับ จ.เพชรบุรี : หลวงพ่อฤทธิ์เป็นผู้แกะ
และเป็นผู้ให้กำเนิดหนังใหญ่วัดพลับฯ เคยแสดง
หน้าพระที่นั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๕ ณ วังบ้านปืน



หอไตร วัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี น.ส.อุไร ภิงคารวัฒน์
เป็นผู้บริจาคทรัพย์ส่วนใหญ่ เป็นหอประชุมอเนกประสงค์
ชั้นเดียวมี ๖ ห้องตั้งอยู่ระหว่างพระวิหารหลวงกับพระเจดีย์พรหมพักตร์
มีมุขโถง ๓ มุขแต่ละมุขมีลวดลายปูนปั้นสวยสดงดงามมาก นายสมพล
พลายแก้ว เป็นผู้รับผิดชอบ และเป็นช่างปั้นพร้อมกับผู้ร่วมงาน



ประติมากรรม รูปปั้นหุ่น: วัดพลับพลาชัยมีประติมากรรมหุ่น
เป็นที่สะดุดตาเป็นประติมากรรมแนวตะวันตกเป็นที่บรรจุอัฐิ
เป็นฝีมือของช่างหุ่น สุทธิสิทธิ์ ครูพิน อินฟ้าแสง



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสลักพระปรมาภิไธยย่อ
ภ.ป.ร. ในถ้ำพระนอนวัดถ้ำเชียงดาว ตำบลเชียงดาว
อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่



หน้าบัน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดหนองหว้า จ.เพชรบุรี


ตราพระธรรมจักร สัญญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา
ประดิษฐานอยู่บนห้องประชุมสงฆ์ วัดราชโอรส กทม.


ซุ้มปรก วัดเพรียง จ.เพชรบุรี


ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา

ทีฆายุโก ชันษาไท้ เจริญศรี
โหตุ เปล่งพระบารมี เช้าค่ำ
มหา ราชครองราชย์ทวี แปดสิบหก ฉนำแฮ
ราชา โชคกฤดาอ้ำ รัชกาลเก้า จักรีวงศ์

ขอ พระสยามเรืองฤทธิ์ประสิทธิ์ประสาท
ทรง แคล้วคลาดปราศทุกข์สุขหรรษา
พระ ตรัยรัตน์คือฉัตรชัยให้ราชา
เจริญ มายุมั่นนิรันดร์เทอญ

ขอถวายพระพร



ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ หม่อมเจ้าหญิงรังษีนภดล ยุคล
ทรงวางศิลาฤกษ์ วิหารจัตุรมุข ณ วัดหนองหว้า เลขที่ 75 หมู่ 8
ตำบลหนองขนาน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
โทร. 089 822 1959



ภาพ ขณะทำการก่อสร้างวิหารจัตุรมุข วัดหนองหว้า จ.เพชรบุรี
ต้องใช้เงินในการก่อสร้างราคารับเหมาค่าวัสดุและค่าแรง รวมเป็นเงิน
10,345,500 บาท ( สิบล้านสามแสนสี่หมื่นห้าพันห้าร้อยบาท )



เหรียญรุ่น เบิกเนตร พระอาจารย์จิ สมจิตฺโต วัดหนองหว้า จ.เพชรบุรี
บูชา ๕๐๐ บาท ติดต่อได้ที่ โทร. ๐๘๑๙๔๗๖๐๙๖ หรือที่วัดหนองหว้า



พระบรมธาตุ วัดมหาธาตุวรวิหาร จ.เพชรบุรี


ที่ รล ๐๐๐๘/๙๓๙๔ สำนักราชเลขาธิการ
สวนจิตรลดา กทม.๑๐๓๐๓
๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๓
เรื่อง ทรงชื่นชมยินดี
นมัสการ พระปลัดสมจิต สมจิตฺโต รองเจ้าอาวาสวัดหนองหว้า จังหวัดเพชรบุรี
อ้างถึง ลิขิตลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๓
ตามที่ขอพระราชทาน ถวายรูปหล่อหลวงพ่อยิด จนฺทสุวณฺโณ (พระครูนิยุตธรรมสุนทร)
อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองหว้า จำนวน ๑ องค์ พร้อมเหรียญพระเครื่องกะไหล่เงินและ
กะไหล่ทองจำนวน ๒๐๐ องค์ แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ความแจ้งอยู่แล้ว นั้น
ได้นำรูปหล่อและเหรียญดังกล่าวทูลเกล้าฯ ถวายแล้ว มีพระราชกระแสทรงชื่นชมยินดี
นายสำเริง เอี่ยมสะอาด
(นายสำเริง เอี่ยมสะอาด)
รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ปฏิบัติราชการแทน
ราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

กองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โทร. ๐๒ ๒๘๐ – ๑๖๔๐ – ๑ โทรสาร. ๐๒ ๒๘๐ – ๑๖๓๙
เว็บไซต์ : www.ohmpps.go.th




เหรียญโภคทรัพย์ หลังยันต์ บูชา ๕๐๐ บาท ติดต่อได้ที่ โทร. ๐๘๑๙๔๗๖๐๙๖ หรือที่วัดหนองหว้า



 4,100 

  แสดงความคิดเห็น


RELATED STORIES




จีรัง กรุ๊ป    

 ธรรมะไทย