พระคาถา

ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร



ธัมมะจักรนี้ถ้าท่านใดได้สวดจะทำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นกิจการงาน แขนงไหนที่ทำอยู่จะมีความเจริญก้าวหน้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโปรดนักบวชปัญจวคีย์ และยังเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็นการลำบากที่ผู้คนทั้งหลายจะได้สวด และยังจะเป็นการเปลื้องทุกข์ภัยต่างๆ นานาได้อีกด้วย สิ่งร้ายจะกลายเป็นดีและยังทำให้มีอายุยืน มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย


ความหมายของ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โดยสรุปคือ

- "กามสุขัลลิกานุโยค" การหมกมุ่นอยู่ในกามสุข และ "อัตตกิลมถานุโยค" การบำเพ็ญตนให้เป็นทุกข์ เป็นการกระทำที่เปล่าประโยชน์
- มัชฌิมาปฏิปทา การเดินทางสายกลาง เป็นหนทางแก่การตรัสรู้ หรือ มรรคมีองค์แปด
- อริยสัจสี่ คือ ธรรมที่เป็นความจริง 4 ประการ


บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง สัมพุชฌิตวา ตะถาคะโต ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฎิปัตติ จะ มัชฌิมา จะตูสวาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะฌามะ เส ฯ


บทสวดธรรมจักรกัปปวัตนสูตร

เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ

มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

กะตะมา จะ สา ภิกขะเว

มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถา คะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ

อะยัง โข สา ภิกขะเว

มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ ชาติปิ ทุกขะ ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะ ทุกขะ โทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ

อิ ทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ฯ

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมา อาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ
(หยุด)

อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิญานัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญาอุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ

อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

ยาวะกีวัญจะ

เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

เนวะ ตาวาหัง

ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

ยะโต จะ โข

เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

อะถาหัง

ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ

อิทะมะโว จะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ

ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ
(หยุด)


ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง
ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ

(หยุด)

อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ

อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ

อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ


ขณะที่พระพุทธองค์ทรงประทับเสวยวิมุตติสุขใต้ต้น อชปาลนิโครธ (ต้นไทร) ในสัปดาห์ที่ ๕ ทรงพิจารณาถึงพระ ธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้เป็นสิ่งลึกซึ้ง ยากที่มนุษย์โดยทั่วไปจะ เข้าใจได้ แต่ด้วยพระมหากรุณาธิคุณและพระปัญญาคุณของ พระองค์ ทรงเห็นว่าบุคคลที่มีกิเลสเบาบาง มีความเห็นแก่ตัว น้อยแสวงหาสัจธรรมเพื่อการหลุดพ้น เหมือนดังดอกบัวที่โผล่ พ้นน้ำรับแสงอาทิตย์ก็มีอยู่ พระองค์ไม่ควรที่จะเก็บความรู้อัน ประเสริฐไว้แต่เพียงลำพัง ควรจะเผยแผ่ให้รู้กันทั่วๆ ไป เพื่อ คนเหล่านั้นจะได้รับประโยชน์จากความรู้อันประเสริฐนี้ด้วย เมื่อทรงตกลงพระทัยที่จะประกาศคำสอนให้แพร่หลายไป จึงทรงระลึกถึงบุคคลที่จะรับฟังคำสอน อันดับแรกทรงระลึกถึง อาฬารดาบสและอุทกดาบสอดีตอาจารย์ของพระองค์ แต่ได้ทราบว่าท่านทั้งสองได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว

ในที่สุด ก็ทรงระลึกถึงปัญจวัคคีย์ที่ได้เคยอยู่ปรนนิบัติพระองค์เมื่อ ตอนบำเพ็ญทุกกรกิริยา ซึ่งตอนนี้ได้ไปอาศัยอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี จึงทรงเสด็จจากอุรุเวลาตรง ไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ขณะที่พระพุทธองค์เสด็จไป ใกล้จะถึงที่อยู่ของปัญจวัคคีย์ ปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระองค์เสด็จ มาได้ตกลงกันว่าจะไม่ต้อนรับพระองค์ แต่เมื่อทรงอยู่ต่อหน้า ปัญจวัคคีย์ได้สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงปรากฏอยู่ที่ พระองค์ มีความสง่างาม มีแววแห่งความประเสริฐซึ่งแตกต่าง จากอดีต ลืมข้อตกลงเดิมได้เข้าไปต้อนรับอย่างดีเมื่อพระพุทธ- องค์ประทับบนอาสนะแล้วก็ได้ทรงกล่าวกับปัญจวัคคีย์ว่า จะทรงแสดงธรรมให้ฟัง เหล่าปัญจวัคคีย์มีความสงสัยเกิดขึ้น ไม่ยอมเชื่อง่าย ๆ ได้กล่าวโต้ตอบพระองค์มากมายจนที่สุด พระองค์กล่าวตอบว่า “ตลอดเวลาที่อยู่ด้วยกันครั้งก่อน พระองค์เคยกล่าวว่าได้บรรลุธรรมสูงสุดที่ทำให้อยู่เหนือความเกิดและ ความตายหรือไม่?” ปัญจวัคคีย์ยอมรับว่าพระองค์ไม่เคยกล่าว เช่นนี้มาก่อน จึงยอมรับที่จะฟังธรรมจากพระพุทธองค์คืนนั้น พระพุทธองค์ทรงพักค้างคืนกับปัญจวัคคีย์ รุ่งขึ้นเป็นวันเพ็ญ อาสาฬหะพระพุทธองค์ทรงแสดงเทศนากัณฑ์แรกชื่อว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เมื่อพระพุทธองค์ตรัสธัมมจักกัปปวัตนสูตร นี้จบลงพราหมณ์โกณฑัญญะได้มีดวงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาบัน พระพุทธองค์ถึงกับทรงเปล่งอุทานว่า

“อัญญาสิ วตโภ โกณ ฑัญโญ ๆ – โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ๆ”

จากนั้นท่านจึงมีชื่อ ว่าอัญญาโกณฑัญญะพร้อมทั้งทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์จึงทรงประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา ทรงเปล่งพระวาจาว่า “ท่านจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรา กล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์ โดยชอบเถิด” พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นสาวกองค์แรกใน พระพุทธศาสนา วันนั้นตรงกับวันเพ็ญกลางเดือนอาสาฬหะ หรือเดือน ๘ เป็นวันที่พระรัตนตรัยเกิดขึ้นในโลกเป็นครั้งแรก คือมี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ครบบริบูรณ์


พระคาถา
ยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฏก คาถาชินบัณชร คาถาพาหุง คำสวดธัมมะจักร พุทธชัยมงคลคาถา พุทธมังคลคาถาของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรํสี) สืบสร้างทางสวรรค์-นิพพาน คำบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร(พระแก้วมรกต) คาถาบูชาพระสมเด็จ คาถาชุมนุมเทวดา คำไหว้พระธาตุรวม คำไหว้บารมี 30 ทัศ คำพรรณนาพระบรมธาตุ มงคลจักรวารทั้ง 8 ทิศ คาถาบูชาพระพุทธเจ้าหลวง คาถาบูชาเจ้าแม่กวนอิม ป้องกันภัยทั้ง 10 ทิศ คาถาสารพัดนึก คาถาเมตตามหานิยม คาถาเจ้านายเมตตา คาถาขุนแผน คาถาเอ็นดู คาถาคนนิยม คาถาสมัครงาน คาถาค้าขายดี คาถาสาริกาลิ้นทอง คาถาการเจรจา คาถาอัญเชิญพระเครื่อง คาถาอุปถัมภ์ คาถารักแท้ คาถามัดใจ คาถามนต์รัก คาถาใจอ่อน คาถาผูกใจคน คาถามหาเสน่ห์ คาถาป้องกันผี คาถาป้องกันผีพราย คาถาป้องกันงู คาถากันสุนัข คาถาป้องกันตัว คาถาคงกระพัน คาถาป้องกันภัยพิบัติ คาถาสกัดโจรผู้ร้าย คาถาคับขัน คาถาหนังเหนียว คาถาต่อสู้ คาถารอด คาถากำบัง คาถาแคล้วคลาด คาถากันปืน คาถาแก้ศัตรู คาถาข่มศัตรู คาถาขับไล่สิ่งชั่วร้าย คาถาแก้พิษ คาถาแก้อาคม คาถากันไฟและขโมย คาถาพืชผล คาถารักษาไข้ คาถาชนะมาร คาถาโชคลาภ ๑ คาถาโชคลาภ ๒ คาถาโชคลาภ ๓ คาถาร่ำรวย คาถามหาลาภ คาถาสะเดาะเคราะห์ คาถาคลอดลูกง่าย คาถาเสกขี้ผึ้ง คาถาแก้ฝ้นร้าย คาถาปลุกใจ คาถาคดีความ คาถาลงน้ำ คาถานักมวย คาถาหมัดหนัก คาถาฤทธิ์เดช คาถาเดินทางไกล คาถาขับรถ



จีรัง กรุ๊ป    

 ธรรมะไทย