 |
พระพรหมคุณาภรณ์
(ป.อ. ปยุตฺโต)
วัดญาณเวศกวัน
อ.สามพราน จ.นครปฐม
|
|
"ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม"
บรรยายแก่พระนวกะ รุ่นพรรษา ๒๕๓๙ |
ตอนที่ 1 พิธีอุปสมบท 1 (00:52:37) |
 |
- ความหมาย และความมุ่งหมายของการบวช |
|
- ความหมายของพระรัตนตรัย |
|
- มูลกรรมฐาน (กรรมฐานเบื้องต้น) |
|
|
|
|
|
ตอนที่
2 พิธีอุปสมบท 2 (00:35:31) |
 |
- ความหมายของการขอนิสัย
และความสัมพันธ์กับอุปัชฌาย์ |
|
- ความหมายของคำว่า
"อุปัชฌาย์, สัทธิวิหาริก, อาจารย์, อันเตวาสิก" |
|
- ไตรสิกขา (ศีล,
สมาธิ, ปัญญา) |
|
- การเข้าสู่สังฆกรรม,ให้ฉายา,บอกบาตรจีวร |
|
|
|
ตอนที่
3 พิธีอุปสมบท 3 (00:13:08) |
 |
- เกริ่นอธิบายบอกอนุศาสน์
(นิสัย 4, อกรณียกิจ 4, ไตรสิกขา) |
|
|
|
|
|
ตอนที่
4 การบูชา (00:30:22) |
 |
- ความหมาย, ความสำคัญ,
และประเภทของการบูชา |
|
- ความหมายของการบูชาด้วยดอกไม้,
ธูป, เทียน |
|
|
|
ตอนที่
5 ความเป็นอยู่ประจำวันของพระและการศึกษาเบื้องต้น (01:12:37) |
 |
- การเตรียมบวช
: ปฏิสังขาโย (การพิจารณาปัจจัย 4 ), โภชเนมัตตัญญุตา
(ความรู้จักประมาณในการบริโภค) |
|
- ความมุ่งหมายที่แท้จริงในการใช้ปัจจัย
4 (คุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม, ตัณหา ปัญญา) |
|
- ความหมายของ
"สันโดษ" |
|
- อินทรียสังวร
(การใช้ตา, หู, จมูก, ลิ้น, กาย ให้เป็น) - ชาคริยานุโยค
(เป็นคนที่ตื่นตัวอยู่เสมอ) |
|
- ความเป็นนักเสพ
- นักศึกษา |
|
- ความสัมพันธ์กับคฤหัสถ์
: สุภรตา, สันโดษ, ปสาทะ |
|
- คติภมรเที่ยวเก็บน้ำหวานจากดอกไม้ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
6 พระสงฆ์กับความสัมพันธ์กับสังคม (01:18:15) |
 |
- หลักการมองสังคม
: ธรรมชาติ - คน (ชีวิต / บุคคล) - สังคม |
|
- คำสอน / หลักการของพุทธศาสนามีนัยทางสังคมอยู่ทั่วไป |
|
- ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับประชาชน
: อามิสทาน - ธรรมทาน (พระสงฆ์ต้องนำปสาทะ และเป็นมโนภาวนีย์,
กัลยาณมิตร ให้กับประชาชน) |
|
- คนที่ไม่ต้องเอาอะไรจากสังคม
จึงจะเป็นผู้ที่เอื้อประโยชน์แก่สังคมได้จริง |
|
- คาถา "ยถาปิ
ภมโร ปุปฺผํฯ" |
|
- ความหมายของ
"ธุดงค์" |
|
- ความแตกต่างระหว่าง
"พระอรหันต์" กับ "พระโพธิสัตว์" |
|
- คาถา "คาเม
วา ยทิ วารญฺเญ" |
|
|
|
|
|
ตอนที่
7 ความหมายของความเป็นพระภิกษุ(สัญลักษณ์, ภาพ, บทบาท)
(00:60:33) |
 |
- นักบวชในวิวัฒนาการในศาสนาโบราณ
(นักบวชเป็นสื่อกลาง / ตัวแทนของเทพเจ้า, ผู้ประกอบพิธี
ฯลฯ) |
|
- ความหมายที่ต้องการในพระพุทธศาสนา(สัญลักษณ์,ภาพ,บทบาท) |
|
- ความหมายตามรูปศัพท์ของ
"ภิกษุ" |
|
- สนทนา ตอบคำถาม |
|
|
|
ตอนที่
8 การสวดมนต์ (00:40:37) |
 |
- จากการสาธยายพุทธพจน์มาเป็นกิจวัตร |
|
- บทสวดมนต์ทั่วไปแยกเป็น
3 ประเภท |
|
- การจัดบทสวดมนต์เป็น
7 วัน ในวัดญาณเวศกวัน) |
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
9 พิธีกรรม : บทนำ (00:28:32) |
 |
- ความหมายแบบชาวบ้าน
/ ศาสนาโบราณ |
|
- พระพุทธศาสนาที่แท้แต่เดิมไม่มีพิธีกรรม
- พระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติอย่างไร |
|
- ปัจจุบันพุทธศาสนากลับมีพิธีกรรมอย่างศาสนาโบราณ |
|
- ความหมายแท้มีต่างหากที่ชาวพุทธควรต้องรู้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
10 พิธีกรรม : คุณค่า - ประโยชน์ - การใช้ (01:15:01) |
 |
- ที่ว่าพระพุทธศาสนาเสื่อมเหลือแต่พิธีกรรม
มองให้ดี คือยังมี ปราการสุดท้าย |
|
- ความหมายมองกว้างในแง่กิจกรรมทางสังคม |
|
- ความหมายทั่วๆไป |
|
- รูปแบบ เพื่อรักษาเนื้อหาและสื่อสาระ |
|
- สังฆกรรมกับพิธีกรรม |
|
- ข้อพึงปฏิบัติ |
|
- ตอบคำถามเกี่ยวกับปัญหาสังคม |
|
|
|
ตอนที่
11 วัตถุมงคล: รูปแบบสื่อธรรมประเภทที่ 2 คือ (01:01:55) |
 |
- ประวัติการเกิดมีพระพุทธรูป,
สังเวชนียสถาน, และพุทธเจดีย์ 4 |
|
- ความหมายและประโยชน์ของพระเครื่องสืบจากสมัยโบราณ |
|
- พระเครื่องที่วัดบ้านกร่าง
(กรณีตัวอย่างหลวงพ่อวัดบ้านกร่าง) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
12 วัตถุมงคล (ต่อ) (01:37:01) |
 |
- จริยาวัตรของหลวงพ่อวัดบ้านกร่าง |
|
- การแบ่งคนเป็น
3 ระดับ คือ 1. พวกไม่มีหวัง 2. พวกมีหวัง 3. พวกไม่ต้องหวัง |
|
- ผลร้ายของการหวังพึ่ง |
|
- การปฏิบัติต่อวัตถุมงคล |
|
- การปฏิบัติที่ผิด |
|
- หลักการของพุทธศาสนา
4 ประการ |
|
- ผลต่อสังคม |
|
- การลงทุนที่แพงเกินไป |
|
- อย่าอยู่อย่างพร่ามัวไม่ชัดเจน |
|
|
|
ตอนที่
13 วิธีปฏิบัติต่อลัทธิความเชื่อที่เป็นสภาพแวดล้อมของประชาชน(01:33:02) |
 |
- มองจากคาถาอนุโมทนาวันศุกร์
2 บท ที่เกี่ยวกับเทวดา |
|
- คำว่า "ญาติธรรม" |
|
- แปลคาถาอนุโมทนา
- อาทิยสุตตคาถา และวิหารทานคาถา |
|
- วิจารณ์เรื่องท่าทีต่อเทวดาและอำนาจดลบันดาล(เพิ่มเติม) |
|
- ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย
กับความมั่นคงปลอดภัยที่แท้จริง |
|
- การแก้ปัญหาลึกลงไปถึงจิตไร้สำนึก |
|
|
|
ตอนที่
14 ภูมิหลังชมพูทวีปกับการเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา (01:35:30) |
 |
- อารยันเข้าอินเดีย |
|
- การแบ่งวรรณะและการพึ่งอำนาจบันดาลของเทพเจ้า |
|
- การดึงจากเทพสู่ธรรม
---> กรรม ---> สิกขา |
|
- ธรรม - วินัย
กับความเป็นสัมมาสัมพุทธะ |
|
- ย้ายความศักดิ์สิทธิ์มาไว้ที่พระรัตนตรัย |
|
|
|
|
|
ตอนที่
15 หลักสิกขา : ตามความจริงแห่งธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นสัตว์ฝึกได้
(00:27:47) |
 |
- การศึกษาตลอดชีวิต;
เสกขะ - อเสกขะ |
|
- ความเป็นอารยะ
ไม่อยู่ที่ชาติกำเนิด เลิกระบบวรรณะ |
|
|
|
ตอนที่
16 ความหมาย 4 อย่างของ "ธรรม" (00:30:51) |
 |
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
17 ทางแยกแห่งชีวิต ที่เริ่มจากอายตนะ (00:29:43) |
 |
- สายความรู้สึก
: เวทนา - ตัณหา - ทุกข์ บนฐานของอวิชชา |
|
- สายความรู้ :
วิชชา - วิมุตติ บนฐานของปัญญา |
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
18 สู่ชีวิตแห่งการศึกษาและสร้างสรรค์ บนฐานของอายตนะ
6 (01:07:00) |
 |
- อวิชชา ตัณหา
ทุกข์ : ตัณหา - เสพ : สุขทุกข์จากชอบใจไม่ชอบใจและการทำ
กลายเป็นความทุกข์ |
|
- วิชชา - วิมุตติ
: ปัญญา - ศึกษา + สร้างสรรค์ : สุขทั้งชอบใจและไม่ชอบใจและสุขจากการกระทำ |
|
- อารยธรรมปัจจุบัน
หันจากด้านการศึกษา - สร้างสรรค์ มารับใช้ฝ่ายเสพ, เอาปัญญามารับใช้ตัณหา |
|
|
|
ตอนที่
19 อารยธรรมมนุษย์ กับ ตัณหาและฉันทะ (01:32:05) |
 |
- ปัญหาจากตัณหา
และมานะ ในการพัฒนาสังคมไทย |
|
- อารยธรรมตะวันตก
เป็นวิถีการสร้างความเจริญซึ่งมีทุนเสริมแรงมากกว่าไทย |
|
- เสริมหรือสลายปัญหาสังคมไทย
ด้วยตัณหา หรือฉันทะ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
20 สันโดษ - ไม่สันโดษ โดยสัมพันธ์กับตัณหา และฉันทะ (00:45:46) |
 |
- ปัญหากับการพัฒนาประเทศ |
|
- ผลดี ผลเสีย
ของการสันโดษ - ไม่สันโดษ |
|
- หลักวินิจฉัยว่าสันโดษถูกหรือไม่ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
21 ลักษณะต่างระหว่างตัณหา - ฉันทะ (00:32:48) |
 |
- อาศัยอวิชชา
กับ ปัญญา |
|
- กระทบผ่าน กับ
ได้เข้าในเนื้อตัวชีวิต (เกิดสิกขา) |
|
- ขยายแต่ปริมาณดีกรี
กับ เปลี่ยนคุณภาพ (ภาวนา) |
|
- มีตัวตน กับ
ตามสภาวะ |
|
- ละทันทีที่เกิด
กับ ละด้วยทำให้สำเร็จ |
|
|
|
ตอนที่
22 ดึงจากเทพสู่ธรรมในแง่สังคม (01:15:05) |
 |
- มัวหาเทพ ก็มองข้ามคน
ไม่ร่วมกันแก้ปัญหา |
|
- คนช่วยกันดีกว่าใครอื่นช่วย |
|
- ไฟ3 + 3 (อาหุไนยัคคิ
- คหปตัคคิ - ทักขิไณยัคคิ)่ |
|
- สนทนา - ตอบคำถาม |
|
|
|
|
|
ตอนที่
23 อิทธิบาท 4 (00:50:31) |
 |
|
|
|
|
ตอนที่
24 พรหมวิหาร 4 (01:12:40) |
 |
|
|
|
|
ตอนที่
25 ตอบคำถาม เรื่อง ทำไมประเทศพุทธทั้ง 3 จึงไม่เจริญ
แพ้ฝรั่ง (01:11:38) |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
26 เหตุให้สังคมไทยเสื่อม-เจริญ-เจริญน้อย (01:05:14) |
 |
- ไตรภูมิพระร่วง
กับมหาชาติ บ่งชี้การที่สังคมไทยก้าวยังไม่ถึงหลักการแท้ของพระพุทธศาสนา
|
|
- ปัจจัยแวดล้อมทางธรรมชาติมีผลต่อการนำธรรมมาใช้เพียงเพื่อสงบนิ่งหยุด,
การไม่จำเป็นต้อง สร้างสรรค์และพัฒนาเทคโนโลยี |
|
|
|
ตอนที่
27 หลักการแห่ง ธรรม - วินัย (01:26:25) |
 |
- ถ้ายังไม่ถึงความจริงของธรรมชาติ
ก็ไม่อาจแก้ปัญหาได้จริง |
|
- เกณฑ์วินิจฉัยทฤษฏีและระบบต่างๆ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
28 เบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับ ธรรมและวินัย (00:47:59) |
 |
- ธรรมกับวินัยที่เป็นข้อความบันทึกลงในคัมภีร์ |
|
- ข้อควรทราบเกี่ยวกับ
- วินัย - สิกขาบท - ศีล - วัตร - ขอศีล ให้สิกขาบท (ขอสมาธิ,
ขอปัญญา) - ธุดงค์ - รุกขมูล |
|
|
|
ตอนที่
29 จากวินัยในธรรมชาติ -สู่วินัยของสังคมมนุษย์ (00:30:53) |
 |
- วินัยในธรรมชาติ
กลีบดอกไม้ - ชีวิตสัตว์ - การบินของฝูงนก (เกิดจากระบบความสัมพันธ์
- สัญชาตญาณ - ความจำเป็นในการดำเนินชีวิต) |
|
- วินัยในสังคมมนุษย์:จากเจตนาอาศัยปัญญาจัดตั้งวางวินัย
โดยเป็นอิสระจากสัญชาตญาณ = ความสามารถพิเศษของมนุษย์จะใช้หรือไม่
ถ้าปล่อยจะยิ่งต่ำกว่าสัตว์ |
|
- ในสังคมตะวันตกภาวะบีบคั้น
ช่วยให้ฝรั่งมีวินัย เช่น ในการใช้อุปกรณ์ ฝรั่งต้องอ่าน
instructions แต่ไทยเอาง่าย ระวังจะมักง่าย |
|
- วินัยคู่กับศีลโดยตรง
แต่เมื่อฝึกพฤติกรรม ก็ถึงจิต - ปัญญาด้วย |
|
|
|
ตอนที่
30 จากวินัยสู่ธรรมเพื่อการพัฒนาชีวิต (00:58:29) |
 |
- วินัยช่วยฝึกพฤติกรรม
และโยงตลอดไปถึงจิต - ปัญญา |
|
- ทำไมเรียกว่าศีล;
ศีลแยกโดยความสัมพันธ์กับสังคม - วัตถุ |
|
- ทำไมเรียกว่าสมาธิ;
การพัฒนาจิตใจ แยกเป็นด้าน คุณภาพ- สมรรถภาพ - สุขภาพจิต |
|
- ทำไมแยกปัญญาออกไปจากจิต;
ปัญญาในด้านและระดับต่างๆ |
|
- ทำไมแยกเป็น
3 ขั้น ศีล สมาธิ ปัญญา ทั้งที่มีในขณะเดียวกัน |
|
- ฝึกไตรสิกขาพร้อมทีเดียวในวงจรเล็กทุกกิจกรรมและทุกพฤติกรรม |
|
|
|
ตอนที่
31 สิกขา๓ ภาวนา๔ (00:45:29) |
 |
- ตัวอย่างศีล
2 ด้าน (กายภาพ - สังคม) |
|
- ศีล 2 ด้านจัดเป็นศีล
4 หมวดสำหรับพระภิกษุ |
|
- ไตรสิกขากับภาวนา
4 (กระบวนการเรียนรู้และการวัดผล) |
|
|
|
|
|
ตอนที่
32 สิกขา ๓ กับ มรรคมีองค์ ๘ (00:37:54) |
 |
- สมาธิเป็นประธาน/
ตัวแทนด้านฝึกจิต (เพิ่มเติม) - มีวิริยะมาช่วย |
|
- ตอบคำถาม:ทำไมมรรคเริ่มด้วยปัญญา
ไตรสิกขาเริ่มด้วยศีล |
|
- ลักษณะ 3 อย่างของจิตที่เป็นสมาธิ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
33 มรรคโดยสัมพันธ์กับไตรสิกขา (00:24:00) |
 |
- องค์ 8 ของมรรค |
|
- ข้อควรทราบเกี่ยวกับมรรค |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
34 สิกขาที่ 2 สมาธิ หรือการพัฒนาจิตใจ (00:49:55) |
 |
- องค์ประกอบยืนในการทำงานฝ่ายจิต
: วิริยะ - สติ - สมาธิ |
|
- ความหมายและการทำหน้าที่ของสติ |
|
- สติ กับ สมาธิ
(ความหมาย-ความแตกต่าง-ความสัมพันธ์) |
|
- ตอบคำถาม : ปริยัติ
- ปฏิบัติ - ปฏิเวธ |
|
- ความจำเป็นของไตรสิกขา
ในการบรรลุจุดหมาย : อุปมาตัดต้นไม้ |
|
|
|
ตอนที่
35 สิกขาที่ 2 กับ สิกขาที่ 3(01:02:54) |
 |
- สติกับปัญญา
(สติสัมปชัญญะ, สติปัญญา) |
|
- การทำงานของสติ
(อุปมานายประตู) |
|
- สติ - สมาธิ
- ปัญญา |
|
- ปัญญากับศรัทธา |
|
- ความสมดุลย์ของอินทรีย์
5 |
|
|
|
ตอนที่
36 เบ็ดเตล็ดที่ควรทราบเกี่ยวกับปัญญา (01:10:29) |
 |
- ชื่อต่างๆของปัญญา
|
|
- ปัญญากับญาณ |
|
- ตัวอย่างญาณ
9 ในวิปัสสนาญาณ 9 และญาณ16(โสฬสญาน) |
|
- การจัดญาน 9
และญาน 16 เข้าในวิสุธิ 7 |
|
|
|
|
|
ตอนที่
37 ปฏิสัมภิทา 4 (00:26:43) |
 |
- ปัญญาที่จำเป็นสำหรับความสำเร็จในยุคข่าวสารข้อมูล |
|
- ขั้นรับ 2 ขั้นใช้งาน
2 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
38 คาถา "พหุ เว สรณํ ยนฺติ ฯ เปฯ" (01:08:05) |
 |
- ทุกข์บีบคั้นภัยคุกคาม
---> ที่สุด 2 อย่าง |
|
1) ลุกขึ้นดิ้นรนขวนขวายจนเจริญแล้วมัวเมาก็เสื่อม |
|
2) มีศาสนามาปลอบประโลมใจให้ที่พึ่ง และความหวังก็หยุดรอและติดอยู่หรือจมลง |
|
- พุทธศาสนาให้ที่ยึดเหนี่ยวที่ดึงขึ้น
โดยมีพระรัตนตรัยเป็นตัวสื่อเชื่อมโยงสู่ธรรม |
|
- ธรรมในแง่ที่จะเอามาใช้ประโยชน์แก่มนุษย์
= อริยสัจจ์ 4 |
|
- ความหมายและประโยชน์ของพระรัตนตรัย |
|
|
|
ตอนที่
39 ความหมายบางแง่ของการถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ (00:43:52) |
 |
- ความแตกต่างจากสรณะ
/ ที่พึ่งในศาสนาทั่วไป |
|
- ความเป็นทางสายกลาง
ระหว่างฝึกตนเพราะปัจจัยภายนอกบีบ กับอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สบายก็เฉื่อยชาไม่ฝึกตน |
|
- ตอบคำถาม:ประโยชน์ของพระศักดิ์สิทธิ์
: การใช้เป็นสิ่งกล่อมคั่นก่อนนำสูงขึ้นไป |
|
|
|
ตอนที่
40 อธิบายเรื่องอุโบสถ สังฆกรรม (เรื่องแทรกในวันอุโบสถ)
(00:45:45) |
 |
- ประวัติการบัญญัติอุโบสถ |
|
- อุโบสถสำหรับคฤหัสถ์
- สำหรับพระภิกษุสงฆ์ |
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
41 ไตรสรณะ โยงสู่ธรรม - อริยสัจจ์ (01:35:30) |
 |
- ธรรมในระบบแห่ง
ปฏิจจสมุปบาท และไตรลักษณ์ |
|
- อริยสัจจ์ |
|
-
เหตุ- ผล 2 คู่ |
|
-
ในแง่การสอน และในแง่ปฎิบัติการแก้ปัญหา |
|
- คุณค่าพิเศษของอริยสัจจ์ |
|
|
|
ตอนที่
42 ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับอริยสัจจ์ 4 (00:58:18) |
 |
- อริยสัจจ์ 4
กับชีวิตและสังคมปัจจุบัน ( = ความจำเป็นที่ต้องใช้หลักอริยสัจจ์) |
|
- อริยสัจจ์ 4
กับการบำบัดโรคของแพทย์ |
|
- กิจในอริยสัจจ์และการจัดทำเป็น
4 ประเภท |
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
43 ขยายความบางแง่ของอริยสัจจ์ 4(00:31:44) |
 |
- คำแปลของ "อริยสัจจ์" |
|
- อริยสัจจ์ข้อ
1 คือ อุปาทานขันธ์ 5 1)รูป 2)เวทนา |
|
|
|
ตอนที่
44 ขันธ์ 5 (ต่อ) (01:02:59) |
 |
- 3) สัญญา 4)สังขาร
5)วิญญาน |
|
|
|
|
|
ตอนที่
45 องค์ 8 ของมรรค (01:06) |
 |
- ความหมายขององค์ทั้ง
8 ของมรรค ตามลำดับ |
|
|
|
|
|
ตอนที่
46 นำเข้าสู่มรรค (00:50:59) |
 |
- ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ
2 โดยเฉพาะเรื่อง กัลยาณมิตร |
|
- แทรกเรื่องวาจาที่พระพุทธเจ้าตรัสและไม่ตรัส
6 อย่าง ตามอภัยราชกุมารสูตร |
|
|
|
ตอนที่
47 โยนิโสมนสิการ (01:39:13) |
 |
- ขยายความเรื่องโยนิโสมนสิการ
รวมทั้งตัวอย่างจากอปัณณกชาดก
ตอบคำถามเรื่องโยนิโสมนสิการโยงไปหาไตรลักษณ์
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
48 จากปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 2 สู่บุพนิมิตแห่งมรรค 7 (00:45:32) |
 |
- กัลยาณมิตตตา |
|
- สีลสัมปทา |
|
|
|
|
|
ตอนที่
49 บุพนิมิตแห่งมรรค 7 (ต่อ) (00:59:17) |
 |
- อธิบายบุพนิมิตแห่งมรรค
ข้อ 3-7 โดยเฉพาะข้อ 6 |
|
|
|
ตอนที่
50 สรุปบุพนิมิตแห่งมรรคและปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 2 (00:51:24) |
 |
|
|
|
|
ตอนที่
51 ไตรสิกขาสำหรับชาวบ้าน ในหลัก ทาน - ศีล - ภาวนา (00:57:59) |
 |
- นักเสพ --->
นักศึกษา ---> นักสร้างสรรค์ ---> นักให้ |
|
- ฝรั่งปรับแนวคิดใหม่ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ
- Stewardship |
|
|
|
|
|
ตอนที่
52 จากศีล 5 สู่ ศีล 8 (00:57:32) |
 |
- ความแตกต่างและความต่อเนื่อง:
ศีล 5 สู่ศีล 8 |
|
- เข้าให้ถึงความหมายและความมุ่งหมายของศีล
8 |
|
- วันหยุดของชาวพุทธ |
|
|
|
ตอนที่
53 อุโบสถ 3 (00:54:42) |
 |
- อุโบสถ 3 ชุดที่
1 : ปกติ-ปฏิชาคร-ปาฏิหาริย์ |
|
- อุโบสถ 3 ชุดที่
2 : โคบาลก-นิคันถ-อริยะ การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน |
|
- การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน |
|
|
|
ตอนที่ 54
ภาวนา 2 (00:52:15)
|
 |
- จิตตภาวนา กับปัญญาภาวนา |
|
- สมถภาวนา กับวิปัสสนาภาวนา |
|
|
|
|
|
ตอนที่
55 ความสุขและวิธีปฏิบัติต่อความสุข (00:29:13) |
 |
- หลักทั่วไป :
หน้าที่ต่อทุกข์=ปริญญา |
|
หน้าที่ต่อสุข =สัจฉิกิริยา |
|
- ทุกข์เราต้องรู้ทัน
สุขเราต้องรู้ถึง |
|
- วิธีปฎิบัติต่อความสุข
4 อย่าง ตามนัยแห่งเทวทหสูตร |
|
|
|
ตอนที่ 56
ความสุขจากแหล่งพื้นฐาน 3 VS ความสุขจากการเสพ (00:49:09)
|
 |
- ความสุขพื้นฐานของชีวิต
3 ประการ |
|
- ระวังจะสูญเสียความสุขทั้งสาม
ถ้าไม่ปฎิบัติต่อความสุขจากการเสพให้ถูกต้อง |
|
- มองดูสภาพสังคมปัจจุบันในการหาความสุข |
|
|
|
ตอนที่
57 คุณและโทษของกามสุข / สามิสสุข (00:45:46) |
 |
- ความห่างเหินกับความแปลกแยก |
|
- เสริม หรือชดเชย
หรือสูญเสียความสุขพื้นฐาน 3 ประการ |
|
- พุทธศาสนาไม่ใช่
asceticism |
|
- สุขแบบคนโรคเรื้อน
: เกาที่คัน / ผิงไฟย่างตัว |
|
- การพัฒนาความสามารถหาสิ่งเสพมาบำเรอความสุข
กับการพัฒนาความสามารถที่จะมีความสุข |
|
- โทษของกาม ต่อตนเอง
- สังคม - สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ |
|
|
|
ตอนที่ 58
จาก 'หาความสุข' สู่ 'สร้างความสุข'(00:52:23)
|
 |
- การปฏิบัติต่อกามสุข
(เพิ่มเติม) |
|
- การพัฒนาสู่ความประณีตขึ้นไปจนถึงสุข
จากการปรุงแต่งจิตของตนเองได้ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตอนที่
59 สุขเหนือปรุงแต่ง (00:38:12) |
 |
- เหนือความสุขที่ปรุงแต่งสร้างเองได้
คือความสุข อย่างอิสระที่ไม่ต้องปรุงแต่ง |
|
- ความสุขแท้ซึ่งมีอยู่ทุกที่ทุกเวลา
ไม่ต้องหาไม่ต้องสร้าง |
|
- อุปมาเรื่องน้ำแท้จืดสนิทบริสุทธิ์
(ไร้สี,กลิ่น,รส)เป็นสิ่งจำปรารถนายืนตัวที่สุด |
|
|
|
ตอนที่ 60
วินัยสำหรับคฤหัสถ์ (00:44:40)
|
 |
- ทบทวนแนวทางดำเนินชีวิตสำหรับผู้ลาสิกขา |
|
|
|
|
|
|
|

[
จำนวนคนอ่าน 1 คน ]
|
|